24.10.60

ວິທີການລ້ຽງກຸ້ງກ້າມແດງ (ລອບເຕີນໍ້າຈືດ) ຂອງ ຟາມ ນຸນ້າກຸ້ງກ້າມແດງ




ວິທີການລ້ຽງກຸ້ງກ້າມແດງ (ລອບເຕີນໍ້າຈືດ) ຂອງ ຟາມ ນຸນ້າກຸ້ງກ້າມແດງ


WhatsApps, Line: 020 55778588. www.facebook.com/kungnounafarm; https://nounafarm.blogspot.com

   I.     ຄວາມຮູ້ພື້ນຖານຂອງກຸ້ງກາມແດງ:

ກຸ້ງກ້າມແດງ ແມ່ນມີສາຍພັນມາຈາກປະເທດອອດສະເຕເລຍ ເປັນກຸ້ງນໍ້າຈືດ, ກິນອາຫານທີ່ມີໂປຣຕີນສູງ ມັກຢູ່ນໍ້າໄຫຼ ແລະ ບໍ່ມີແສງແດດຫຼາຍ. ເປັນສັດຫວງຖິ່ນ ແລະ ຫວງໂຕເມຍ ເມືອມີໂຕອື່ນກາຍຖິນ ຫຼື ໃກ້ໂຕເມຍ ຈະມີການຕໍ່ສູ້ກັນບາງຄຕັ້ງກໍເຮັດໄດ້ເສຍຊີວິດໃນການຕໍ່ສູ້ໄດ້, ມີຄວາມສຽງໃນ.ການລ້ຽງສາມາດຕາຍໄດ້ດ້ວຍ ຫຼາຍຢ່າງແຕ່ທີ່ສຳຄັນແມ່ນ ສານເຄມີທຸກປະເພດ.  ອາໃສ່ຢູ່ໃນນໍ້າທີ່ມີອຸນຫະພູມ 25-30 ອົງສາເຊ, ນໍ້າເລີກ 30-150 cm, ສາມາດລ້ຽງໃສ່ຫຍັງກະໄດ້ທີ່ສາມາດຂັງນໍ້າໄດ້, ອາຫານສ່ວນໃຫຍ່ເປັນອາຫານທີ່ໃຫ້ໂປຣຕີນສູງ (ປາ, ກຸ້ງ, ຫອຍ, ຂີ້ກະເດືອນ, ໄຂ່), ລ້ຽງໃນນໍ້າສະອາດ (ນໍ້າປະປາ, ນໍ້າໜອງ, ນໍ້າທຳມະຊາດ, ນໍ້າສ້າງ, ນໍ້າຝົນ), ກຸ້ງຈະລອກຄາບເພື່ອຈະເລີນເຕີບໂຕ. ກຸ້ງມີອາຍຸ ສູງສຸດ 5 ປີ ແລະ ມີຄວາມຍາວທັງໝົດ 35-40 ເຊັນ ນໍ້າໜັກປະມານ 1 ກິໂລ. ກຸ້ງຈະມີການລອກຄາບ ແລະ ເມື່ອເວລາລອກຄາບຈະມີການກິນກັນເອງ.






   II.     ເພດຂອງກຸ້ງກ້າມແດງ:




   III.     ວິວັດທະນາການຂອງກຸ້ງກ້າມແດງ: ຕັັ້ງແຕ່ລົງຍ່າງ ເຖິງ ຕາຍ


  II.   
   IV.     ວິທີລ້ຽງກຸ້ງກ້າມແດງ:

1.  ສະຖານທີ່ລ້ຽງ:














2.     ການກຽມນໍ້າ:

ນໍ້າຕ້ອງເປັນນໍ້າສະອາດ ສາມາດລ້ຽງໃນນໍ້າ ນໍ້າປະປາ, ບາດານ, ນໍ້າສ້າງ, ນໍ້າໜອງ, ນໍ້າທຳມະຊາດ. ປ່ຽນນໍ້າທຸກ 2 ອາທິດ ຫຼື ເວລານໍ້າເປື້ອນ. ນໍ້າຕ້ອງມີອຸນຫະພູມ 25-30 ອົງສາ, ຕ້ອງມີຄ່າຄວາມເຂັ້ນ PH 6 – 9, ມີຄ່າອາຄາລາຍ 80-180 ppm ຫຼື ບໍ່ໃຫ້ສູງເກີນ 200 ກຸ້ງຈະບໍ່ສາມາດລອກຄາບໄດ້, ຕ້ອງມີອົກຊີ້ 30-60 % ລະດັບນໍ້າສູງ 30-150 cm. ນໍ້າປະປາຕ້ອງໄດ້ພັກໄວ້ເພື່ອບໍ່ໃຫ້ມີຄໍລີນ ປະມານ 1-2 ວັນ ຫຼື ໃສ່ນໍ້າຢາຂ້າຄໍລີນ. ນໍ້າຕ້ອງໄດ້ໃສ່ແຫ່ທາດລວມ ແລະ ເຄວຊ້ຽມ (ລາຍລະອຽດແມ່ນຕາມຄູ່ມືຂ້າງກ່ອງ)ປະລິມານ 1 ບ່ວງແກງຕໍ່ 1 ແມັດກ້ອນ (ຄວາມເຂັ້ມຂົ້ນໄອໂອດີນ 95%) ເພື່ອໃຫ້ກຸ້ງລອກຄາບໄດ້ດີ. ອ່າງປູນທີ່ເຮັດໃໝ່ ຕ້ອງໄດ້ແຊ່ນໍ້າໄວເພື່ອໃຫ້ປູນຈາງ 7-10 ວັນ ຫຼັງຈາກນັ້ນກໍປ່ຽນນໍ້າ ຈຶ່ງສາມາດປ່ອຍກຸ້ງໄດ້. ເພື່ອຮັບປະກັນໃຫ້ກຸ້ງໃຫຍ່ໄວບໍ່ຕາຍ ຕ້ອງໄດ້ໃສ່ອົດຊີ້ (ຫຼືບໍ່ໃສ່ກະໄດ້).

3.  ອາຫານກຸ້ງກ້າມແດງ: (ຂີ້ກະເດືອນ, ແໜ, ຜັກຕົບ, ກຸ້ງ, ປາ, ໃບຫູກວາງ...)

        ອາຫານເມັດສະເພາະກຸ້ງ: ປະລິມານຕໍ່ ກຸ້ງ 100 ໂຕ

ອາຍຸ
ຂະໜາດໂຕ
ປະລິມານອາຫານ
ເວລາເກືອ
ອາຍຸ 7 – 10 ວັນ
1 ເຊັນ
¼ ບ່ວງກາເຟ
ເຊົ້າ-ແລງ
ອາຍຸ 10 – 30 ວັນ
1-2,5 ເຊັນ
½ ບ່ວງກາເຟ
ເຊົ້າ-ແລງ
ອາຍຸ 30 – 60 ວັນ
2,5-5 ເຊັນ
1 ບ່ວງກາເຟ
ເຊົ້າ-ແລງ
ອາຍຸ 60 – 100 ວັນ
5-7,5 ເຊັນ
1 ບ່ວງແກງ
ເຊົ້າ-ສວຍ-ແລງ
ອາຍຸ 100 ວັນ ຂື້ນໄປ
7,5-12 ເຊັນ
2 ບ່ວງແກງ
ເຊົ້າ-ສວຍ-ແລງ

4.  ພະຍາດກຸ້ງກ້າມແດງທີ່ພົບປະຈຳ:

        ເປັນໂລກຂີ້ໝຽງເກາະ, ຫາງຫ້ຽນ ແລະ ຫາງໂພງ: ສາເຫດເກີດມາຈາກນໍ້າເປື້ອນ, ອາຫານບໍ່  ສະອາດ, ຕິດຈາກກຳມະພັນ. ວິທີປ້ອງກັນ ເກືອອາຫານປົກກະຕິບໍ່ໃຫ້ລາຍຈົນເກີນໄປ, ປ່ຽນນໍ້າສະໜໍ້າສະເໝີ. ຖ້າເປັນຕິດໂລກແລ້ວໃຫ້ແຍກອອກ ຈົນກວ່າຈະລອກຄາບ ຫຼັງຈາກລອກ ແລ້ວເອົາຄາບຖີ້ມ ຕິດຕາມຈົນກວ່າບໍ່ມີພະຍາດແລ້ວຄ່ອຍເຂົ້າລວມໝູ່.

ໂລກຫາງໂພງ



ໂລກຫາງຫ້ຽນ


5.  ສາເຫດການຕາຍຂອງກຸ້ງກ້າມແດງ: 

        ສານເຄມີ: ສີຊະນິດຕ່າງໆ, ສີທາເລັບ, ໂລຊັ້ນ, ນໍ້າຫອມ, ຢາສີຍຸງ, ຢາໄຕ້ຍຸງ, ກວນຢາສູນ, ເບຍ, ເຫຼົ້າ, ຢາສູບ, ຈອດເຫຼັກ, ນໍ້າມັນຕ່າງໆ...
        ນໍ້າປົນເປື້ອນສານພິດ
        ນໍ້າມີຄໍລີນ
        ນໍ້າບໍ່ສະອາດ

6.  ວິທີປະສົມພັນກຸ້ງກ້າມແດງ:

        ຄັດພໍ່ແມ່ພັນທີ່ມີອາຍຸ 4ເດືອນ, ຂະໜາດ10cmຂື້ນໄປ, ກຸ້ງສາມາດໃຫ້ລູກໄດ້4-5ຄັ້ງຕໍ່ເດືອນ

  •   ກຸ້ງໂຕແມ່ຕ້ອງມີຜ້າກ່ອນຈຶ່ງສາມາດປະສົມໄດ້
  •  ກຸ້ງໂຕຜູ້ປະສົມໄດ້ທຸກມື້
  • ອັດຕາການປ່ອຍປະສົມ 1 ຜູ້ - ແມ່ 3 – 5 ໂຕ
  •  ອັດຕະກັນປະສົມທີປະສົບຜົນ 1-1
  • ກຸ້ງຈະປະສົມພັນກ່ອນ ແລ້ວຈຶ່ງໄຂ່ອອກມາ ເກັບໄວ້ໃນທ້ອງ
  • ຈັບກຸ້ງພໍ່ແມ່ພັນທີ່ຄັດໄວ້ລົງໃສ່ອ່າງສະເພາະໃຫ້ອາຫານມື້ລະຄັ້ງຫາມລົບກວນສັງເກດເຫັນກຸ້ງແມ່ມີໄຂ່ແລ້ວແຍກໂຕແມ່ອອກ
ກຸ້ງກ້າມແດງທີ່ພ້ອມຈະປະສົມພັນ


ກຸ້ງປະສົມພັນ




ກຸ້ງທີ່ມີໄຂ່




ຄັດແຍກກຸ້ງທີ່ມີໄຂ່ອອກ





ວິວັດຖະນາການໄຂ່ກຸ້ງກ້າມແດງ



ໄຂ່ກຸ້ງທີ່ແຕກເປັນໂຕກຳລັງລົງຢ່າງ



7.  ວິທິອະນຸບານກຸ້ງກ້າມແດງ:

ການອະນຸບານກຸ້ງ ແມ່ນກຸ້ງຈະລອກຄາບຢູ່ທ້ອງແມ່ 1ຄັ້ງແລ້ວເລີ່ມລົງຢ່າງ, ລູກກຸ້ງລົງຢ່າງໃຫ້ຕັກລູກກຸ້ງອອກຈາກ ອ່າງແຍກໄປລ້ຽງຕ່າງຫາກໃນບໍ່ອະນຸບານລູກກຸ້ງ, ອັດຕາສ່ວນ 1 ຕາແມັດຕໍ່ 300-500ໂຕ, ໃສ່ນໍ້າສູງ15-20cm, ໃນມື້ທີ 1-7 ກຸ້ງຈະບໍກິນອາຫານ, ໃນ 7ມື້ບໍ່ຕ້ອງເກືອ ຫຼັງຈາກນັນເກືອອາຫານເມັດຕາມອັດຕາສ່ວນທີ່ກຳນົດໄວ້ໃນຂໍ້ IV.3, ໃສ່ອົດຊີ້ ຫຼື ບໍ່ໃສ່ກະໄດ້ຂື້ນຢູ່ກັບສະພາບສະຖານທີ່ລ້ຽງ ຖ້າລ້ຽງໃນບ່ອນອາກາດບໍ່ທ່າຍເທດີກໍຄວນໃສ່ອົກຊີລຽ້ງຈົນກວ່າໄດ້ 30ວັນແລ້ວຂັດເອົາໂຕໃຫຍ່ອອກ ຫຼັງຈາກນັ້ນລ້ຽງໄປຈົນກວ່າ ຈະຮອ 5 cm ແລ້ວແຍກເພດ, ລ້ຽງຕໍ່ດ້ວຍການແຍກກຸ້ງເພດຜູ້ກັບເພດແມ່ໄວ້ອ່າງໃຜອ່າງມັນ, ໃນອັດຕາສ່ວນ 35-50 ໂຕຕໍຕາແມັດ. ເມື່ອກຸ້ງຮອດອາຍຸໄດ້ 4 ເດືອນມີຂະໜາດ ໂຕແຕ່ 10cm ຂື້ນໄປສາມາດນຳມາປະສົມພັນກັນໄດ້ ໃນອັດຕາສ່ວນກຸ້ງແມ່ 1-5ໂຕ ຕໍ່ກຸ້ງຜູ້ 1 ໂຕ.   














18.10.60

ໂປຣໂມຊັນສໍາລັບຄົນມັກລ້ຽງກຸ້ງກ້າມແດງ


ກຸ້ງກ້າແດງ ນຸນ້າຟາມ


@ພໍ່ແມ່ພັນ ຄູ່ ຂະນາດ 10-12 cm ລາຄາ 100,000₭ 
- ພໍ່ແມ່ພັນ ຊຸດ 3 ແມ່ ຜູ້ 1 ລວມ 4 ໂຕ ລາຄາ 160,000 k
- ພໍ່ແມ່ພັນ ຊຸດ 6 ແມ່ ຜູ້ 4 ລວມ 10 ໂຕ ລາຄາ 300,00 ₭
@ຂະນາດ 3-5 cm ລາຄາ 5,000₭/ໂຕ; 100 ໂຕ 400.000 ₭
@ຂະນາດ 6-8 cm ລາຄາ 7,000₭/ໂຕ; 100ໂຕ 600.000 k 
+ ພວກເຮົາສາມາດໃຫ້ຄຳປຶກສາວິທີວຽງ ໄດ້ 
#whatsapp/Line/ໂທ :02055778588










6.2.60

ວິທີລ້ຽງກຸ້ງກ້າມແດງ

วิธีการ เลี้ยงกุ้งก้ามแดง หรือ กุ้งล๊อบสเตอร์ เลี้ยงง่าย รายได้ดี - วิธีการ เลี้ยงกุ้งล๊อบสเตอร์ ในบ่อปูน หรือนาข้า









กุ้งก้ามแดงหรือกุ้งล๊อบสเตอร์น้ำจืด เป็นสัตว์น้ำเศรษฐกิจที่น่าจับตามอง และน่าลงทุนและน่าศึกษาเพื่อนำมาเพาะเลี้ยงน่ะครับ สามารถเลี้ยงในบ้านก็ได้ เลี้ยงง่ายในตู้ปลาในกะละมังหรือบ่อปูน เลี้ยงไว้เพื่อดูเล่น เลี้ยงไปเลี้ยงมาอาจจะกลายเป็นอาชีพเสริมหรืออาจจะนำไปสู่รายได้หลักเลยก็อาจเป็นไปได้น่ะครับ ติดตามเรื่องราวดีๆ และเทคนิคความรู้ต่างๆด้านการเกษตรได้ที่นี่ Baannoi.com
กุ้งก้ามแดงหรือกุ้งล๊อบสเตอร์ปัจจุบันในประเทศไทยนิยมนำมารับประทานกันเพิ่มมากขึ้น เพราะว่ารสชาติของกุ้งก้ามแดงจะมีรสชาติที่หวานมากกว่ากุ้งก้ามกราม แต่ก่อนจะนิยมเลี้ยงกันเพื่อความสวยงามแต่เดี๋ยวนี้กลายเป็นสัตว์เศรษฐกิจที่นิยมเลี้ยงกันมากในชาวเกษตรกรน่ะครับ เหตุผลเพราะเลี้ยงง่ายสามารถเพาะเลี้ยงในบ่อปูน อ่างน้ำกะละมังได้หมด หรือแม้กระทั่งในนาข้าวก็สามารถเลี้ยงได้เช่นกันครับ 
การเลี้ยงกุ้งก้ามแดงเมื่อก่อนยังไม่เป็นที่นิยมหรือรู้จักกันในท้องตลาดบ้านเรามากนัก ส่วนใหญ่ที่เพาะพันธ์ุเป็นฟาร์มใหญ่ๆก็จะเน้นส่งออกไปยังต่างประเทศเสียมากกว่า แต่ปัจจุบันนี้โครงการหลวงดอยอินทนนท์ อำเภอภจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ ได้มีการส่งเสริมให้เกษตรกร เพาะเลี้ยงกุ้งก้ามแดงเพื่อการบริโภค จึงมีการเพาะเลี้ยงกันมากขึ้นในกลุ่มเกษตรกร และราคาของกุ้งก้ามแดงก็ถือว่าได้ราคาค่อนข้างสูงตามขนาดตัวด้วยครับ
ที่สำคัญแม่บ้านหรือคนทั่วไปที่ต้องการเลี้ยงไว้ภายในบริเวณบ้าน ก็สามารถเพาะเลี้ยงได้เช่นกันครับ เพราะว่ากุ้งก้ามแดงหรือล๊อบสเตอร์น้ำจืดนี้เลี้ยงง่ายโตเร็ว ถ้าเลี้ยงในบ้านก็แค่มีกะละมัง หรืออ่างเลี้ยงปลาเก่าหรือตู้ปลาก็สามารถเพาะเลี้ยงเค้าได้แล้วครับ หรือตามภาพคือเลี้ยงใส่กล่องพลาสติกเก็บของนั่นเองครับแค่มีอ๊อกซิเจนให้เค้าและก็ตัดท่อหรือใส่วัสดุเพื่อให้เค้าได้มีที่หลบตามสัญชาตญาณการเอาตัวรอดของเค้าเองครับ

สำหรับราคาของกุ้งก้ามแดงที่เราจะนำมาเพาะเลี้ยง ก็มีหลายราคา ตามขนาดตัวของเค้าน่ะครับ 

  • กุ้งก้ามแดงสำหรับนำมาเป็นพ่อแม่พันธ์ุ ขนาด 4-5 นิ้ว ถ้าซื้อตามฟาร์มก็จะราคาอยู่ที่ 1200-2000 บาท จะจำหน่ายแบบเป็นชุดให้นำมาเพาะเลี้ยงก็คือ แบบตัวผู้ 1 ตัวเมีย 2 ราคาจะประมาณ 1200-1500 บาท และแบบตัวผู้ 2 ตัวเมีย 5 จะจำหน่ายราคาประมาณ 2000 บาทครับ

  • ลูกกุ้งล๊อบสเตอร์ขนาดไซส์ลงเดิน หรือประมาณ 45 วันอยู่ที่ราคาประมาณ ตัวละ 5-6 บาท ซึ่งขนาดนี้ก็สามารถนำมาเพาะเลี้ยงได้แล้วครับ

กุ้งก้ามแดงหรือกุ้งล๊อบสเตอร์น้ำจืดขนาด 1นิ้วครึ่งหรือ 2 นิ้ว เกษตรกรจะเลือกขนาดไซส์นี้เพื่อนำไปเพาะเลี้ยงครับ

ราคาขายตามท้องตลาดจะอยู่ที่ กิโลกรัมละ 1200-1500 บาทเชียวครับ กุ้งก้ามแดงหรือกุ้งล๊อบสเตอร์ ถ้าเลี้ยงในบ่อปูนจะมีลำตัวที่มีสีใสหรือเป็นสีฟ้าเพราะไม่มีตะไคร้น้ำหรือดินเกาะ แต่ถ้าเลี้ยงในบ่อดินหรือในทุ่งนาสีของกุ้งจะค่อนข้างออกไปทางสีดำหรือน้ำเงินเข้มครับ แต่ชาวบ้านที่เลี้ยงตามบ่อดินทั่วไปนิยมใช้แปรงสีฟันทาน้ำเกลือไปขัดที่ตัวกุ้งเพื่อให้ได้สีที่สวยงามไม่ดำก็มีเช่นกันครับ
การเลี้ยงกุ้งจากไซส์ลงเดินจะเลี้ยงในบ่อปูนหรือในบ่อผ้าใบ จนได้ถึงขนาด 1 นิ้วคือกุ้งเริ่มแข็งแรงก็สามารถย้ายไปยังสถานที่จะเลี้ยงเช่นบ่อปูนบ่อผ้าใหม่ได้เลยครับ กุ้งล๊อบสเตอร์อยู่ง่ายเลี้ยงง่ายอยู่ได้ทุกที่ที่มีน้ำเราสามารถเลี้ยงไว้ในภาชนะเหลือใช้ภายในบ้านได้ทั้งนั้น แต่ต้องทำที่ให้เค้าได้หลบภัยได้ด้วย ถ้าเลี้ยงด้วยกันหลายตัวเมื่อเวลาที่กุ้งลอกคราบเค้าจะกินกันเอง เพราะฉนั้นควรมีท่อไว้ให้เค้าได้หลบภัยของตัวเค้าเองด้วยครับ
อาหารของกุ้งก้ามแดง กุ้งก้ามแดงเค้ากินง่ายครับกินได้ทั้งพืชผัก หรืออาหารสำเร็จรูปแบบจมน้ำก็สามารถกินได้ การเลี้ยงกุ้งก้ามแดงเพื่อสร้างรายได้ กุ้งก้ามได้สามารถเลี้ยงในบ่อปูนหรือถังพลาสติก หรือหากมีบ่อดินที่เคยเลี้ยงปลาเลี้ยงกบมาก่อนแล้วอยากหันมาเลี้ยงกุ้งล๊อบสเตอร์ก็น่าสนน่ะครับ เพราะเค้าสามารถอยู่ได้แบบสบายๆ และโตเร็วมากด้วยถ้าเลี้ยงในนาข้าว นี่แทบจะไม่ต้องให้อาหารเค้าเลย เพราะว่าเค้าสามารถหากินเศษหญ้าหรือเปลือกข้าวที่เปื่อยหรือตะไคร่น้ำหรือแม้กระทั่งหอยหรือไส้เดือนที่มีอยู่ตามธรรมชาติครับ  

ความแตกต่างในการเลี้ยงกุ้งล๊อบสเตอร์ในบ่อดินหรือนาข้าว และการเลี้ยงในบ่อปูนก็จะมีข้อดีและข้อเสียแตกต่างกันออกไปน่ะครับ 

การเลี้ยงในบ่อดิน หรือนาข้าว มีข้อดีและข้อเสียน่ะครับ

  • ข้อดี ก็คือการเลี้ยงแบบปล่อยตามธรรมชาติ ให้เค้าหากินเองตามธรรมชาติจึงไม่ค่อยจะเปลืองเรื่องอาหารเหมือนกับการเลี้ยงในบ่อดินหรือแทบจะไม่ได้ให้อาหารเลยถ้าในเลี้ยงในนาข้าว ไม่ต้องใช้อ๊อกซิเจน เป็นการใช้ต้นทุนต่ำในการเลี้ยงกุ้งก้ามแดงจึงเป็นอีกทางเลือกในการเลี้ยงกุ้งก้ามแดงในนาข้าวหรือบ่อดินน่ะครับ
  • การเจริญเติบโตจะค่อนข้างเจริญเติบโตได้ดีกว่าการเลี้ยงในบ่อปูน เพราะกุ้งก้ามแดงสามารถหาอาหารกินได้ทั้งวัน เพราะในบ่อดินหรือนาข้าว มีอาหารของเค้ามากมายเช่น สาหร่าย,หอยหรือไรแดงและไส้เดือนที่มีอยู่โดยธรรมชาตินั่นเองครับ 
  • ข้อเสียในการเลี้ยงกุ้งก้ามแดงในบ่อดิน หรือนาข้าว ก็คือโรคที่ติดมากับกุ้งเพราะเราไม่สามารถควบคุมโรคที่มาจากอาหารโดยธรรมชาติที่เค้ากินเข้าไปได้ กุ้งในบ่อดินส่วนใหญ่จะมีโอกาสเป็นโรคหางพอก,โรคสนิม มากกว่ากุ้งที่เลี้ยงในบ่อดิน และตัวกุ้งจะค่อนข้างจะมีสีดำ ซึงเกิดจากตะไคร่น้ำที่เกาะลำตัวกุ้งนั่นเองครับ แต่ผู้จำหน่ายบางรายก็มีวิธีแก้ไขโดยการนำกุ้งมาขัดมาล้างโดยการใช้แปรงสีฟันมาขัดที่ตัวกุ้งก่อนที่จะนำไปจำหน่ายครับ กุ้งจะได้ดูน่ากินหน่อย


การเลี้ยงในบ่อปูนหรือ ในบ่อผ้าใบ มาดูข้อดีและข้อเสียกันน่ะครับ

  • อันดับแรกก็คงจะเป็นในด้านการลงทุน ลงทุนมากกว่าบ่อดินหรือในนาข้าวแน่นอนครับ เพราะต้องมีการเตรียมบ่อ และต้องมีบ่อพัก ต้องมีอ๊อกซิเจน
  • บ่อปูนที่ทำขึ้นเป็นสี่เหลี่ยม ที่นิยมทำการเลี้ยงก็จะไม่ทำขนาดใหญ่มากนัก บ่อปูนกลมก็สามารถเลี้ยงได้ เพราะจะสะดวกต่อการเปลี่ยนถ่ายน้ำ หรือการทำความสะอาดบ่อครับ 
  • การเลี้ยงในบ่อปูนต้องหาวัสดุมาไว้ในบ่อเพื่อให้กุ้งได้หลบ หรือแอบซ่อนตัวเพื่องดการกินกันเองของกุ้งก้ามแดงครับ ส่วนมากจะนิยมใส่ท่อพีวีซี ตัดเป็นท่อนๆใส่ลงไปในบ่อมากกว่าจำนวนกุ้งหนึ่งเท่าตัว เช่น มีกุ้ง 100 ตัว ก็ต้องมีท่อจำนวน 200 อันเป็นต้นครับผ้ายางเก่าหรืออะไรก็ได้ก็สามารถใส่ลงไปบ่อ กุ้งก้ามแดงจะไม่ชอบแสงมากนัก จึงจำเป็นที่ต้องหาผ้าใบมาคลุมบ่อ เพื่อเป็นการกระตุ้นให้กุ้งก้ามแดงได้กินอาหารได้ทั้งวัน เพื่อความเจริญเติบโตครับ
  • ข้อดีในการเลี้ยงกุ้งก้ามแดงในบ่อปูนเราจะดูแลง่าย เมื่อสังเกตุเห็นว่ากุ้งลอกคราบ ก็สามารถแยกกุ้งออกมาได้เพื่อลดการสูญเสียหรือการกินกันเองได้ครับ 
  • กุ้งก้ามแดงเมื่อมีขนาด 3-4 นิ้วควรมีการแยกเพศแยกบ่อเพื่อเป็นการเร่งการเจริญเติบโต เพราะถ้าไม่ทำการแยกบ่อแล้ว กุ้งจะไม่เจริญอาหารเพราะจะจ้องแต่จะผสมพันธ์ุครับ
  • ข้อดีอีกอย่างของการเลี้ยงในบ่อปูนคือ จะมีสีใสสวยและสะอาดไม่ไม่ตะไคร่น้ำเกาะเหมือนกุ้งก้ามแดงที่เลี้ยงในบ่อดินครับ


  • ลักษณะเด่นของกุ้งก้ามแดง คือมีเลือดสีฟ้าเช่นเดียวกับล๊อบสเตอร์น้ำเค็ม จึงได้มีชื่อว่า ล๊อบสเตอร์น้ำจืดนั่นเองครับ กุ้งก้ามแดงมักหากินตามพื้นดินและว่ายน้ำไม่เป็นน่ะครับ 
กุ้งล๊อบสเตอร์น้ำจืดจะมีเลือดสีน้ำเงินทำให้ลำตัวเค้าใสและมีสีน้ำเงินภาพนี้เลี้ยงในตู้ปลาเพื่อความสวยงามครับ

วิธีด้วยเพศของกุ้งก้ามแดง ก็มีวิธีสังเกตุคือ ดูจากก้ามและอวัยวะเพศที่หน้าอกน่ะครับ

  • ตัวผู้ จะมีก้ามที่มีสีแดง เหมือนกับชื่อของเค้าเลยน่ะครับ ตรงก้ามจะเป็นเหมือนวุ้น และสีของก้ามจะแดงมากหรือแดงน้อยจะขึ้นอยู่กับสภาพน้ำที่เลี้ยงเค้าครับ ถ้าเลี้ยงตามแหล่งน้ำธรรมชาติ วุ้นตรงก้ามจะเป็นสีแดงเข้มเลยน่ะครับ แต่ถ้าเลี้ยงตามบ่อดินแล้วใช้น้ำปะปาหรือน้ำบาดาลก็จะสีไม่ออกแดงมากจะเป็นสีประมาณสีน้ำตาลอ่อนๆครับ การดูเพศของตัวผู้ ดูได้อีกอย่างคือการหงายท้องดูตรงขาคู่สุดท้ายของเค้า จะมีต่อมแหลมๆเล็กๆสองข้างครับ


ตัวผู้จะมีวุ้นตรงก้ามเป็นสีแดงเข้มถ้าเลี้ยงตามแหล่งน้ำธรรมชาติน่ะครับ ถ้าเลี้ยงน้ำบาดาลสีก็จะประมาณนี้ครับ



  • ตัวเมีย กุ้งก้ามแดงตัวเมีย จะไม่มีก้ามหรือวุ้นตรงก้ามเหมือนตัวผู้ครับ และตรงท้องก็จะไม่มีต่อมแหลมๆตรงขาคู่สุดท้ายครับ


กุ้งก้ามแดงตัวเมียจะอุ้มหรือห่อไข่ไว้ประมาณ 50 วันหรือ 2 เดือนถึงจะค่อยๆคลายออกเมือ่ไข่กุ้งแก่เต็มที่

อายุที่พร้อมในการผสมพันธ์ุของพ่อแม่พันธ์ุกุ้งอยู่ที่ อายุได้ประมาณ 8 เดือน ก็สามารถนำพ่อพันธ์ุและแม่พันธ์ุมารวมกัน อัตราส่วนอยู่ที่ ตัวผู้ 1 ตัวต่อตัวเมีย 2-3 ตัว หรือ 1ต่อ1 ก็ได้ครับ 
ระยะเวลาประมาณ 2 เดือนที่กุ้งผสมพันธ์ุแล้ว ตัวเมียจะทำการอุ้มไข่หรือห่อไข่ไว้ วิธีการดูแลคือช่วงนี้ให้สังเกตุว่าไข่ของกุ้งตัวไหนแก่หรือยังถ้าหากว่าไข่อ่อนอยุ่ไม่ต้องไปยุ่งกับแม่พันธ์ุตัวนั้นเด็ดขาด เพราะเค้าจะตกใจและดีดไข่ทิ้งหมดเลยครับ ไข่แก่สังเกตุได้โดยตรงที่เค้าอุ้มไข่ไว้จะแผ่ออก และเริ่มเห็นหนวดและตาลูกกุ้ง ก็ให้ทำการแยกตัวแม่พันธ์ออกมากไว้บ่อใหม่ต่างหากเพื่อเลี้ยงลูกกุ้งรุ่นต่อไปครับ เพาะเลี้ยงให้ได้ขนาดตัวได้ 2 เซนติเมตรก็สามารถจำหน่ายได้แล้วครับ หรือจะเลี้ยงจนให้ได้ขนาด 4 นิ้วก็ได้น่ะครับราคาจะได้เพิ่มขึ้นมาอีกเท่าตัวครับ
อาชีพเลี้ยงกุ้งก้ามแดงก็เป็นที่น่าสนใจทีเดียวน่ะครับ สำหรับท่านที่มีบ่อเลี้ยงปลาเลี้ยงกบหรือตู้ปลาที่ไม่ใช้ ถ้าสนใจก็น่าจะซื้อหาเพื่อนำมาเลี้ยงไม่แน่น่ะครับนอกจากจะเลี้ยงไว้ดูเล่นเพื่อความสวยงามแล้ว อาจจะสร้างรายได้เสริมหรือ ถ้าทำไปได้ดีๆอาจจะกลายเป็นรายได้หลักให้กับผู้เลี้ยงเลยก็ได้น่ะครับ ผู้เขียนหวังว่าบทความนี้คงเป็นประโยชน์ไม่มากก็น้อยสำหรับผู้ที่เข้ามาอ่านเว็บน่ะครับ ติดตามข้อมูลดีๆและเทคนิคความรู้ต่างๆด้านการเกษต

Adsence